หน้าแรก
การตั้งชมรมมศิษย์เก่าฯ
สัญลักษณ์ชมรมศิษย์เก่าฯ
ความเป็นมาของการจัดงาน
คณะทำงานจัดงาน
กำหนดการจัดงาน
กิจกรรมในวันงาน
ทะเบียนรุ่น
ความคืบหน้าการจัดงาน
ของที่ระลึกงานคืนสู่เหย้า
เสื้องานคืนสู่เหย้า
การทำหนังสือที่ระลึก
การสั่งจองของที่ระลึก
ผู้สนับสนุนงานคืนสู่เหย้า
เอกสารเชิญร่วมงาน
ติดต่อผู้ดูแล Website

Forum/กระดานข่าว
<โปรดลงทะเีบียนก่อน>

สัญลักษณ์ของ "ชมรมศิษย์เก่าเหมืองแร่และปิโตรเลียมจุฬา"


คำอธิบายสัญลักษณ์ของ "ชมรมศิษย์เก่าเหมืองแร่และปิโตรเลียมจุฬา"


พระเกี้ยว
การใช้พระเกี้ยวเป็นเครื่องหมายประจำสถาบันการศึกษานั้น มีมาตั้งแต่สมัย "โรงเรียนฝึกหัดข้าราชการพลเรือน" โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญพระเกี้ยวเป็นเครื่องหมายหน้าหมวกของนักเรียน ต่อมาเมื่อโรงเรียนฝึกหัดข้าราชการพลเรือน เปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนมหาดเล็ก" ก็ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญพระเกี้ยวเป็นเครื่องหมายของโรงเรียน หลังจากนั้นเมื่อโรงเรียนมหาดเล็กเปลี่ยนชื่อเป็น"โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตใช้ตราพระเกี้ยวเป็นสัญลักษณ์ประจำโรงเรียนข้าราชการฯ ซึ่งต่อมา ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก็ยังคงได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้ตราพระเกี้ยวเป็นเครื่องหมายประจำมหาวิทยาลัย ตราบจนถึงปัจจุบัน โดยสถานศึกษาที่ใช้พระเกี้ยวเป็นสัญลักษณ์ เช่น


เกียร์ (Gear)
เกียร์ คือ สัญลักษณ์ของวิศวะ ความหมายอยู่ในตัวของมัน หมายถึง ความสามัคคี เมื่อใดที่ฟันเฟื่องหัก จะไม่สามารถทำงานได้ ฟันเฟื่องเปรียบเสมือนวิศวกร ที่จะต้องมีความสามัคคีกัน


เหมืองแร่
พลั่วและอีเธอร์ เป็นเครื่องมือพื้นฐานในการทำเหมืองสมัยโบราณ


แท่นเจาะน้ำมัน (Rig)
แท่นเจาะน้ำมัน

Copyright © 1999-2009 Department of Mining and Petroleum Engineering.
Faculty of Engineering, Chulalongkorn University, Phayathai Road, Patumwan, Bangkok, THAILAND 10330


ชมรมศิษย์เก่าเหมืองแร่และปิโตรเลียม จุฬาฯ ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยถนนพญาไทแขวงวังใหม่เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร. 0 2218 6919 โทรสาร 0 2218 6920